พุยพุย

วันจันทร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

วันพฤหัสบดี ที่ 24 เดือนมกราคม 2560


สื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
          
สื่อ หมายถึง สิ่งต่างๆที่เป็นตัวกลางที่ผู้เลี้ยงดูเด็กนำมาช่วยในการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ ทัศคติ ค่านิยมที่ตนมีไปสู้เด็กอย่างมีประสิทธิภาพ

ความสำคัญของสื่อ
- ส่งเสริมเด็กให้กล้าแสดงออกและเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
- เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดความรู้
- ได้รับประสบการณ์ตรงทำให้จดจำได้นาน
ประเภทของสื่อ มี 3 ประเภท คือ
1. สื่อการสอนประเภทวัสดุ   สิ่งช่วยสอนที่สิ้นเปลือง เช่น ชอล์ก ฟิล์ม สไลด์
2. สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์  สิ่งช่วยสอนที่เป็นเครื่องมือ เช่น เครื่องเสียง กระดานหก
3. สื่อการสอนประเภทวิธีการหรือกระบวนการ ได้แก่ การสาธิต เกมส์ กิจกรรมต่าง การทดลอง

การเล่นของเด็ก
1. ความสำคัญ
การเล่นเป็นป้จจัยสำคัญที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเด็ก การจัดการศึกษาของเด็กปฐมวัยที่เอื้อให้เด็กเล่น จึงเป็นการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทุกด้าน
2. คุณลักษณะของสื่อสร้างสรรค์
 - สอดคล้องกับหลักสูตร
 - เน้นให้เด็กได้ใช้สื่อและการเล่นร่วมกัน
 - เหมาะสมกับวัย
3. ประเภทของสื่อสร้างสรรค์
- บล็อก
- เครื่องเล่นสัมผัส       
- เกมส์การศึกษา    
- ชุดฝึกประสบการณ์   
- ชุดฝึกทักษณะเคลื่อนไหว
- หนังสือภาพนิทาน   
- หุ่นต่างๆ  
- ศิลปะสร้างสรรค์     
- เพลงและดนตรี   
- เล่นบทบาทสมมติ
4. ประโยชน์ของการเล่น
การเล่นช่วยให้เด็กเกิดพัฒนาการด้านต่างๆ สมบูรณ์
5. วิธีการส่งเสริมการเล่น
- จัดหาอุปกรณ์ที่เหมาะสม
- ปล่อยให้เด็กเล่นอย่างอิสระ
- กล่าวชม

ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
1. ความคิดริเริ่ม มีความคิดแปลกใหม่ ไม่ชอบความจำเจ
2. ความคิดคล่องตัว
    2.1 ความคิดคล่องตัวด้านถ้อยคำ
    2.2 ความคิดคล่องตัวด้านการโยงสัมพันธ์
    2.3 ความคิดคล่องตัวด้านการแสดงออก
    2.4 ความคิดคล่องตัวในการคิด
3. ความคิดยืดหยุ่น
    3.1 ความคิดยืนหยุ่นที่เกิดขึ้นทันที่
    3.2 ความคิดยืนหยุ่นทางด้านการดัดแปลง
4. ความคิดละเอียดละออ
  - ผู้หญิงจะมีความละเอียดละออมากกว่าผู้ชาย
  - เด็กที่มีความละเอียดละออเป็นคนช่างสังเกต

หลักการเลือกสื่อสร้างสรรค์

      1 ประโยชน์
      2 ประหยัด
      3 ประสิทธิภาพ
การเรียนรู้ระดับปฐมวัย
1. การเรียนรู้ด้วยองค์ความรู้ด้านสมอง
   1.1 ปัญญาทางด้านภาษา
   1.2 ปัญญาด้านตรรกะและคณิตศาสตร์
   1.3 ปัญญาด้านร่างกาย
   1.4 ปัญญาด้านดนตรี
   1.5 ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์
   1.6 ปัญญาด้านเข้าใจตัวเอง
   1.7 ปัญญาด้านมนุษย์สัมพันธ์
   1.8 ปัญญาด้านความสัมพันธ์กับธรรมชาติ
2. ทฤษฎีทางพหุปัญญา
   2.1 ปัญญามีลักษณะเฉพาะ
   2.2 ทุกคนมีปัญญาทั้ง 8 ด้าน
   2.3 ทุกคนสามารถพัฒนาปัญญาได้
   2.4 ปัญญาด้านต่างๆสามารถทำงานร่วมกันได้
   2.5ปัญญาแสดมความสามารถหลายทาง
3. ความสุข
   ทุกคนต่างปรารถนาเฝ้าเสาะแสวงหา ไขว่คว้า หากเพียรพยายาม ครูทุกคนก็อยากเห็นลูกศิษย์ของตนร่าเริงและมีความสุข
4. การประยุกต์กระบวนการทัศน์ใหม่ทางการศึกษา
   การพัฒนาให้เด็กเป็นคนเก่ง ดีและมีความสุข โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้สภาพจริงและกระบวนการประเมินตามสภาพจริง
5. การเรียนรู้แบบลงมือกระทำ
   5.1 การเลือกและตัดสินใจ
   5.2 สื่อ
   5.3 การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
   5.4  ภาษาจากเด็ก
   5.5 การสนันสนุนจากผู้ใหญ่




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น